Page 3 - issu028.cdr
P. 3
เชื่อว่าช่วงที่ผ่านมาคนไทยทั้งประเทศต่างให้ความ ถึงลักษณะทางกายภาพ ภูมิประเทศ บรรยากาศ ระบบ
สนใจเกี่ยวกับเรื่องของเด็ก ๆ ทีมฟุตบอลหมูป่าอะคา นิเวศและความเสี่ยงในการเกิดภัยพิบัติในพื้นที่ของตัวเอง
เดมี่รวมทั้งโค้ชจ�านวน 13 คน ติดอยู่ภายในวนอุทยาน ท�าไมถึงไม่มีการกันไม่ให้คนเข้าไปในถ�้าในช่วงฤดูฝนและ
ถ�้าหลวง-ขุนน�้านางนอน อ�าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ที่น่าเป็นห่วงกว่านั้นก็คือมีข่าวออกมาหลาย ๆ พื้นที่ทั่ว
เราได้เห็นถึงน�้าใจของทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติต่างให้ ¶Ö§àÇÅÒáŌǷÕèä·Â ประเทศว่า ได้ท�าการปิดถ�้าหลังจากเกิดเหตุการณ์นี้ท�า
ความช่วยเหลือทั้งตามหาจนเจอและพาน้อง ๆ ออกมา ให้เราสงสัยว่าหากไม่เกิดเหตุการณ์ดังที่เกิดกับทั้ง 13
จากถ�้ากลับสู่ครอบครัวได้ส�าเร็จจากเรื่องที่เกิดขึ้นท�าให้ ชีวิต หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับถ�้าต่าง ๆ ทั่วประเทศก็จะ
เราต้องมองย้อนกลับมาดูว่า บทเรียนกรณีถ�้าหลวง ควรบรรจุการป้องกันตัว ยังคงไม่ให้ความสนใจต่อความเสี่ยงที่สามารถเกิดขึ้นได้
สะท้อนวิธีคิดของไทยในการรับมือกับภัยพิบัติ เห็นถึง เรื่องนี้เป็นเรื่องที่น่าเป็นห่วงอย่างมาก นั่นก็เพราะว่าคน
บทเรียนต่อการจัดการ ซึ่งในอนาคตจะต้องมีมาตรการ จากภัยต่างæในแบบเรียน ในพื้นที่ควรจะเป็นผู้ที่มีความรู้มากที่สุดเกี่ยวกับพื้นที่
ปรับปรุงต่อไป นั่นก็คือ มีความไม่พร้อมในการรับมือ ของตนเอง และควรมีความสามารถในการจัดการกับ
กับเหตุการณ์ไม่คาดคิดของประเทศไทย รวมทั้งได้แสดง ตกหนัก สามารถก่อให้เกิดน�้าท่วมในถ�้าได้ตลอดเวลา สิ่งแวดล้อม ซึ่งรวมไปถึงการลดความเสี่ยงภัยถึงเวลา
ให้เห็นถึงความร่วมมือต่าง ๆ ที่ยังไม่พร้อมให้ความ จนกลายเป็นผู้ประสบภัยหลาย ๆ คนอาจจะมุ่งไปโทษ แล้วหรือไม่ที่การป้องกันตัวเองจากภัยต่าง ๆ ในพื้นที่
ช่วยเหลืออย่างทันท่วงทีของหน่วยงานต่าง ๆ ก่อนการ ว่าเด็กนั้นซุกซน หรือท�าไปด้วยความคึกคะนอง แต่เรา ของตัวเอง เช่น การหลีกเลี่ยงการเข้าถ�้าหรือน�้าตกใน
เกิดเหตุ ถึงเวลาแล้วที่ไทยควรบรรจุการป้องกันตัวจาก กลับมองว่าการกระท�าเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงความไม่ ช่วงฤดูฝนหรือวิธีง่าย ๆ อย่างการว่ายน�้าหรือการพาย
ภัยต่างๆ ในแบบเรียนท้ายที่สุด การที่เด็ก ๆ และโค้ชทั้ง ตระหนักรู้ต่อความเสี่ยง และความเปราะบางของตนเอง เรือในพื้นที่ที่อยู่ติดแม่น�้า คลองและทะเลควรจะถูกน�า
13 ชีวิต ได้เลือกที่จะเข้าไปในถ�้าหลวง ซึ่งเป็นถ�้าที่มี เราจะโทษว่าเด็กนั้นซุกซนเสียทีเดียวก็ไม่ได้ เพราะจาก ไปบรรจุอยู่ในแบบเรียนของไทยเช่นเดียวกับที่ประเทศ
ความลึก มีความซับซ้อน และเข้าไปในช่วงฤดูฝนที่ฝน ที่ติดตามข่าวผู้คนที่อยู่ในพื้นที่ส่วนใหญ่เองก็ยังไม่เข้าใจ ญี่ปุ่นสอนวิธีการเอาตัวรอดเมื่อเกิดแผ่นดินไหว
¼ŒÒºÒµÔ¡ และจังหวัดในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน ที่โดดเด่น
ผ้าบาติก เป็นผลิตภัณฑ์ OTOP ของจังหวัดภูเก็ต
มีกลุ่มผู้ผลิตที่ผลิตสินค้าได้มาตรฐาน สร้างรายได้เป็น
จ�านวนมากและกลุ่มที่ต้องการเรียนรู้เขียนผ้าบาติกเพื่อ
ÍѵÅѡɳáÅеÑǵ¹ ประกอบเป็นอาชีพหลัก ซึ่งการส่งเสริมและพัฒนาสินค้า
OTOP Batik ถือว่ามีความจ�าเป็น เพื่อให้ได้มาตรฐาน
และส่งเสริมการเรียนการเขียนผ้าบาติกอย่างต่อเนื่องรอง
รับนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศที่เดินทาง
¢Í§¤¹ÀÙà¡çµ¨Ò¡·ŒÍ§¶Ôè¹ÊÙ‹ÊÒ¡Å เข้ามาท่องเที่ยวเป็นจ�านวนมาก มีการพัฒนาผู้ผลิตผ้า
บาติกในกลุ่มจังหวัดอันดามันให้เป็นผลิตภัณฑ์ OTOP
ที่โดดเด่นของประเทศ มีอัตลักษณ์ เอกลักษณ์ สร้าง
เทคนิคเฉพาะตัวของผู้ประกอบการ สร้างแนวคิดให้ผู้
ประกอบการผ้าบาติกน�าแนวคิดนั้นไปพัฒนาเทคนิคใหม่
และโดดเด่น ให้เป็นสินค้าที่ได้มาตรฐานสากล ก่อให้
เกิดรายได้ที่มั่นคง ยั่งยืน ส่งเสริมการท่องเที่ยว และ
ก่อให้เกิดภาพลักษณ์ใหม่ให้กับจังหวัดภูเก็ตอย่างเต็ม
ภาคภูมิต่อไป Sano-Tik Collection เกิดจากการน�า
เอาเอกลักษณ์แร่ดีบุกอันมีลักษณะเป็นผลึกโทนสีด�าเทา
มาออกแบบลวดลายบนผืนผ้าด้วยเทคนิคการมัดย้อม
ที่เกิดจากการคิดค้นขึ้นมาใหม่รวมถึงการซ้อนทับสีหลาย
ชั้น จนเกิดลวดลายบนเส้นแร่ดีบุกที่พลิ้วไหว มีการซ้อน
สี ขาว เทาด�า ที่ถือเป็นเอกลักษณ์สีแร่ดีบุก รวมถึงการ
น�าเอาสีเหลืองทอง มาแทรกบนผืนผ้าเพื่อให้เกิดมีมิติ
ใหม่ โดยการน�าเอานักออกแบบ 3 ท่านที่มีศาสตร์ความ
รู้เฉพาะทางเริ่มจากการสร้างแนวคิดเพื่อค้นหาอัตลักษณ์
ที่แท้จริงของจังหวัดภูเก็ต น�าออกมาสู่การสร้างสรรค์
ลวดลายบนผืนผ้าโดยการทดลองจนตกผลึก และน�าผืน
ผ้าที่ได้สู่การออกแบบแฟชั่นเครื่องแต่งกาย 5 ชุด ที่มี
ที่มาเดียวกันแต่สามารถน�ามาต่อยอดให้เกิดรูปแบบที่
สามารถตอบโจทย์ของลูกค้ากลุ่มเป้าหมายได้ นับว่าเป็น
การใช้สิ่งที่มีอยู่ภายในท้องถิ่น ต่อยอดเป็นสินค้าที่มีอัต
ลักษณ์ มีตัวตน สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสิ่งที่มีอยู่ในพื้นที่
ภาคใต้ ก่อให้เกิดรายได้ในชุมชนต่อไป
กรกฎาคม 2561 | July 2018 03